ได้ไปพบบทความการจัดการกับอาการปวดต้นคอ...โดยอาจารย์หมอสารภี
ครบถ้วนทั้งข้อมูลและสามารถนำไปใช้เพื่อบรรเทาอาการปวดคอ ขอเชิญตามไปอ่านได้ครับ
รูปอาการปวดคอ: จาก mayoclinic.com
1.โรคที่เป็นสาเหตุของอาการ ปวดต้นคอ
หากเราเกิดอุบัติเหตุเช่น รถชนกันทำให้ศีรษะหงายหลัง หรือเกิดจากข้ออักเสบทำให้ห มอนรองกระดูกเสื่อมและมีการ เลื่อนของหมอนรองกระดูกไปกด ทับเส้นประสาท ทำให้เกิดอาการปวดเหมือนไฟช ็อกจากต้นแขนไปปลายแขนร่วมก ับอาการชา หากไม่รักษาอาจจะทำให้แขนอ่ อนแรงถึงกับเป็นอัมพาต
เนื่องจากมีการเสื่อมของกระ ดูกต้นคอและหมอนรองกระดูกทำ ให้รูในท่อไขสันหลังแคบจึงม ีการกดทับประสาทไขสันหลัง ผู้ป่วยจะมีอาการปวดต้นคอ ชามือ เดินเร็วจะปวดขา ทำงานที่มีความละเอียดไม่ได ้
กระดูกต้นคอก็เหมือนกับกระด ูกที่อื่นๆ เมื่อใช้งานมานานก็เกิดการเ สื่อมของกระดูก หมอนกระดูกจะบางลง และมีกระดูกงอกเงยออกมา ผู้ป่วยจะมีอาการปวดต้นคอ มักจะเป็นมากในตอนเช้า ปวดต้นคอร้าวไปบริเวณไหล่หร ือสะบัก ตอนสายๆอาการจะดีขึ้น
ส่วนให้เกิดจากอุบัติเหตุรถ หรือมอเตอร์ไซด์ มีการหงายหน้าอย่างรวดเร็วแ ละรุนแรงทำให้มีการช้ำของกล ้ามเนื้อ ในรายที่เป็นรุนแรงอาจจะมีห มอนกระดูกทับเส้นประสาท
2.การดูแลตัวเองเมื่อมีอากา รเจ็บคอ
1.ผู้ที่มีอาการปวดต้นคอหรื อที่เรียกว่าตกหมอนส่วนใหญ่ จะเกิดจากการได้รับบาดเจ็บข องกล้ามเนื้อหรือเอ็นรอบคอ คอจะแข็งอย่างเฉียบพลันหลัง จากการเอี้ยว บิด ผิดท่าหรือภายหลังการตื่นนอ น การรักษาสามารถทำได้โดย
•พยายามพัก อย่าเคลื่อนไหวคอ ทางที่ดดีควรจะนอนพัก
•รับประทานยาแก้ปวด หากไม่มากใช้ยา paracetamol 500 mg. หากปวดมากก็ให้รับประทานยาก ลุ่ม NSAID
•ในระยะแรกอาจจะประคบด้วยน้ ำแข็งใส่ถุงพลาสติกห่อผ้าขน หนูวางบริเวณที่ปวด หรือจะใช้น้ำอุ่นประคบประมา ณ 10-15 นาที
•การใส่ปลอกคอ มักจะไม่มีความจำเป็น นอกจากจะปวดมากๆ ไม่แนะนำให้มีการจับเส้นในร ะยะเฉียบพลันเพราะอาจจะเกิด ผลเสีย
- โรคหมอนรองกระดูก Cervical Disc Disease
หากเราเกิดอุบัติเหตุเช่น รถชนกันทำให้ศีรษะหงายหลัง หรือเกิดจากข้ออักเสบทำให้ห
- ท่อไขสันหลังตีบ Cervial stenosis
เนื่องจากมีการเสื่อมของกระ
- กระดูกต้นคอเสื่อม Osteoartgritis
กระดูกต้นคอก็เหมือนกับกระด
- การได้รับอุบัติเหตุ
ส่วนให้เกิดจากอุบัติเหตุรถ
2.การดูแลตัวเองเมื่อมีอากา
1.ผู้ที่มีอาการปวดต้นคอหรื
•พยายามพัก อย่าเคลื่อนไหวคอ ทางที่ดดีควรจะนอนพัก
•รับประทานยาแก้ปวด หากไม่มากใช้ยา paracetamol 500 mg. หากปวดมากก็ให้รับประทานยาก
•ในระยะแรกอาจจะประคบด้วยน้
•การใส่ปลอกคอ มักจะไม่มีความจำเป็น นอกจากจะปวดมากๆ ไม่แนะนำให้มีการจับเส้นในร
รูปประกอบ: การฝึกออกกำลังกล้ามเ
2.สำหรับผู้ที่ปวดคอเรื้อรั ง อาการปวดมักจะไม่รุนแรง เวลาก้มหรือเงย ตะแคงหรือเอี้ยวคอจะทำให้ปว ดเพิ่มขึ้น
3.การดูแลเบื้องต้นได้แก่
•กินยาแก้ปวด
•ประคบด้วยน้ำแข็งหรือน้ำอุ ่นไว้แล้ว
•การนวดหรือกดจุด โดยถูกหลักวิชาอาจจะช่วยระง ับอาการปวดได้ การนวดง่ายๆอาจทำภายหลังจาก การอาบน้ำอุ่นหรือประคบร้อน แล้ว 10-15 นาที
•เริ่มการฝึกออกกำลังกล้ามเ นื้อคอ
4.อาการเจ็บคอที่ต้องรีบพบแ พทย์
อาการเจ็บคอโดยส่วนใหญ่ไม่อ ันตรายหายเองได้ แต่ก็มีบางภาวะที่ผู้ป่วยจะ ต้องรู้และรีบปรึกาาแพทย์
•อาการปวดต้นคอร่วมกับมีอาก ารชาหรืออ่อนแรงของแขนหรือข า และอาการอ่อนแรงเป็นมากขึ้น เรื่อยๆ
•อาการปวดข้อร่วมกับเบื่ออา หาร น้ำหนักลด
•มีอาการปวดคอร่วมกับมีไข้ส ูง คอแข็ง ก้มหน้าเอาคางจรดอกไม่ได้ซึ ่งอาจจะเป็นโรคเยื่อหุ้มสมอ งอักเสบ
•อาการปวดต้นคอเป็นตลอดอย่า งต่อเนื่อง
•มีอาการปวดต้นคออย่างมาก
•อาการเจ็บคอหลังจากได้รับอ ุบัติเหตุ
5.การออกกำลังกล้ามเนื้อคอ
กล้ามเนื้อคอเป็นส่วนสำคัญใ นการป้องกันและการรักษาการป วดคอเรื้อรังหรือเป็นๆหายหา ยๆ การบริหารกล้ามเนื้อคอจะแบ่ งเป็นสองระยะได้แก่
•ในระยะแรกจะบริหารเพื่อเพิ ่มความยืดหยุ่นของเอ็นและกล้า มเนื้อรอบคอ โดยการเอียงคอไปทางซ้าย ขวา ก้มหน้า เงยหน้า
•ในระยะต่อมาจึงจะสร้างความ แข็งแรงของกล้ามเนื้อโดยการ ใช้แรงต้านจากมือ
•การออกกำลังกายโดยทั่วไป นับเป็นส่วนสำคัญข้อหนึ่ง เนื่องจากการออกกำลังกายจะท ำให้หัวใจแข็งแรง มีการสูบฉีดโลหิตเพิ่มขึ้น กล้ามเนื้อของร่างกายหลายๆส ่วน เช่นกล้ามเนื้อขา หลังจะแข็งแรง กระดูกจะเสื่อมน้อย
6.การรักษาโดยแพทย์
ความสำคัญของการรักษาแพทย์จ ะตรวจว่าหมอนกระดูกได้มีการ กดทับเส้นประสาทหรือไม่ หากมีการกดทับมาก ผู้ป่วยเกิดอาการช้า หรืออ่อนแรงแขนหรือขา การรักษาจะต้องทำการผ่าตัดใ นการวินิจฉัยแพทย์จะถามประว ัติเพิ่มเติม และมีการตรวจพิเศษเพื่อยืนย ันการวินิจฉัย และหาตำแหน่งของโรค
7.การรักษาโดยกายภาพ
การทำกายภาพจะช่วยผ่อนคลายอ าการปวดคอให้ท่านได้ โดยวิธีการดังต่อไปนี้
•การประคบร้อน
•การใช้เคื่อง ultrasound
•การอบร้อน Diathermy
•การใช้ Laser
•การดึงคอ
•การนวด
•การใส่ปลอกคอ
8.การปฏิบัติตนเพื่อป้องกัน การปวดคอ
1.ระวังอริยาบท ทั้งการยืน การนั่ง การนอน การทำงาน
2.การทำงานควรหาเวลาหยุดพัก เพื่อออกำลังกล้ามเนื้อคอ เคลื่อนไหวคอ หรือเปลี่ยนอิริยบทสัก 2-3 นาทีทุกชั่วโมง
3.การเลือกเก้าอี้ที่เหมาะส ม
4.การพักผ่อนที่เพียงพอ การเลือกหมอน ที่นอน
5.การใช้ยา
6.การบริหารคอ
3.การดูแลเบื้องต้นได้แก่
•กินยาแก้ปวด
•ประคบด้วยน้ำแข็งหรือน้ำอุ
•การนวดหรือกดจุด โดยถูกหลักวิชาอาจจะช่วยระง
•เริ่มการฝึกออกกำลังกล้ามเ
4.อาการเจ็บคอที่ต้องรีบพบแ
อาการเจ็บคอโดยส่วนใหญ่ไม่อ
•อาการปวดต้นคอร่วมกับมีอาก
•อาการปวดข้อร่วมกับเบื่ออา
•มีอาการปวดคอร่วมกับมีไข้ส
•อาการปวดต้นคอเป็นตลอดอย่า
•มีอาการปวดต้นคออย่างมาก
•อาการเจ็บคอหลังจากได้รับอ
5.การออกกำลังกล้ามเนื้อคอ
กล้ามเนื้อคอเป็นส่วนสำคัญใ
•ในระยะแรกจะบริหารเพื่อเพิ
•ในระยะต่อมาจึงจะสร้างความ
•การออกกำลังกายโดยทั่วไป นับเป็นส่วนสำคัญข้อหนึ่ง เนื่องจากการออกกำลังกายจะท
6.การรักษาโดยแพทย์
ความสำคัญของการรักษาแพทย์จ
7.การรักษาโดยกายภาพ
การทำกายภาพจะช่วยผ่อนคลายอ
•การประคบร้อน
•การใช้เคื่อง ultrasound
•การอบร้อน Diathermy
•การใช้ Laser
•การดึงคอ
•การนวด
•การใส่ปลอกคอ
8.การปฏิบัติตนเพื่อป้องกัน
1.ระวังอริยาบท ทั้งการยืน การนั่ง การนอน การทำงาน
2.การทำงานควรหาเวลาหยุดพัก
3.การเลือกเก้าอี้ที่เหมาะส
4.การพักผ่อนที่เพียงพอ การเลือกหมอน ที่นอน
5.การใช้ยา
6.การบริหารคอ
แหล่งข้อมูล
อาจารย์หมอสารภี
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=408826799150069&set=a.123791347653617.12060.100000682560259&type=1&theater
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น