มีใครไม่เคยได้ยิน โรคเบาหวานบ้าง? เชื่อได้เลยว่า แต่ละบ้านคงต้องมีญาติผู้ใหญ่ พ่อแม่ลุงป้าน้าอาที่กำลังเป็นโรคนี้เป็นแน่แท้ หลายรายต้องกินยาหรือฉีดอินซูลิน แล้วซ้ำยังต้องคอยดูแลอาการต่างๆ ที่อาจตามมาหากคนไข้ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง เช่นเป็นเบาหวานแล้วตาบอดนะ เวลาเป็นแผลที่เท้า แล้วดูแลรักษาไม่ดีต้องตัดขานะ หากคุณกำลังกังวลกับอาการโรคของคนที่คุณรัก หรือตัวเองก็กำลังเป็นอยู่ เรามีคู่มือดูแลรักษาโรคนี้ อ่านง่าย เขียนด้วยภาษากันเองและประสบการ์ณที่เต็มเปี่ยมของเภสัชกรที่คอยบริบาลคนไข้โรคเรื้อรังนี้ มาแบ่งปันกัน
อะไรที่เราควรรู้บ้างเกี่ยวกับเบาหวาน
จะเห็นได้ว่าคนเป็นโรคนี้กันเยอะและเป็นนาน แสดงว่าเราทุกคนก้อมีโอกาสเป็นโรคนี้ พอเป็นแล้วก็จะเรื้อรังและมีโอกาสของการเป็นโรคแทรกซ้อนอื่นๆ เช่นโรคหัวใจ ความดัน ไขมันตามมา หรือมีอาการแทรกซ้อนอื่นๆ ลามไปยังอวัยวะอื่นๆ เช่นโรคของตา แผลที่เป็นแล้วหายยาก
และโรคนี้เป็นนาน คนไข้ก้อมักจะพยายามไปหาทางเลือกใหม่ๆหรืออาหารเสริมใดๆมาเป็นตัวช่วย เราจึงจะรวบรวมภูมิรู้ให้เราได้เข้าใจและนำไปดูแลอย่างถูกต้องและได้ผล อันได้แก่
· เบาหวานเกิดได้อย่างไร?
· เรามีโอกาสเสี่ยงเป็นเบาหวานบ้างไหม?
· เบาหวาน อาการเตือนอย่างไหนที่บอกว่าเป็น?
· ไปหาหมอ ตรวจเบาหวาน ตรวจอะไร ตรวจอย่างไร?
· หลักการรักษาเบาหวาน หายขาดได้ไหม?
· เบาหวานถ้าไม่รักษา รุนแรงไหม? มีผลข้างเคียงอย่างไร?
· ดูแลตนเองอย่างไรเมื่อเป็นเบาหวาน? เมื่อใดควรไปพบแพทย์?
· ยารักษาโรคเบาหวาน
· ยาใหม่ในการรักษาโรคเบาหวาน
· อินซูลินกับเบาหวาน
· แนวทางการรักษาใหม่กับเบาหวาน
· สมุนไพรและอาหารเสริมกับเบาหวาน
· เครื่องวัดน้ำตาลในเลือดกับเบาหวน
· การดูแลรักษาแผลและเท้าเมื่อเป็นเบาหวาน
· ป้องกันเบาหวานได้อย่างไร?
· ใช้ชีวิตอย่างไรให้มีสุขกับเบาหวาน
ตอนหน้าเรามาดูกันว่าเบาหวานเกิดขึ้นได้อย่างไร? ทำไมจึงเป็นโรคนี้ขึ้นมาได้ ทำไมญาติผู้ใหญ่ที่รักของเราถึงเป็นโรคนี้กันได้ง่ายนัก
อยากทราบทุกคำตอบของเรื่องเบาหวาน กรุณาส่งซองคำถามของคุณมาได้ที่อีเมล์ utaisuk@gmail.com หรือแวะไปที่ Facebook “UTAI SUKVIWATSIRIKUL” หรือ “PHARMATREE” ยินดีตอบรับทุกท่านครับ
แหล่งข้อมูล
•เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล สงวนลิขสิทธิ์ 10 กย. 2554
E-mail: utaisuk@gmail.com Facebook: “UTAI SUKVIWATSIRIKUL
ห้ามนำบทความ รูปภาพและเนื้อหาอื่นๆ โดยผู้เขียนไปเผยแพร่เชิงพาณิชย์ ให้นำไปเผยแพร่เป็นวิทยาทานหรือเพื่อการศึกษาเท่านั้นผู้ประกอบการเว็บไซต์ต้องยึดหลักความเคารพและคำนึงถึงลิขสิทธิ์ในการสร้างสรรค์งานเขียนและจริยธรรมทางธุรกิจ
การนำเอาบทความ รูปภาพและเนื้อหาอื่นๆ ซึ่งผลิตขึ้นโดยผู้เขียนไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตและผลิตซ้ำเพื่อเผยแพร่ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาและ Copy url address ไปด้วยเพื่อให้ผู้อ่านสามารถลิ้งค์กลับมาอ่านบทความจากเว็บไซต์ ของผู้เขียนได้โดยตรง
บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพ ไม่แนะนำให้คุณนำไปใช่วินิจฉัยหรือรักษาโรคด้วยตนเอง ขอความกรุณารับคำปรึกษาได้โดยตรงจากเภสัชกรร้านยาใจดีที่พร้อมดูแลสุขภาพพ่อแม่พี่น้องนะครับ
รูปประกอบจาก http://www.websanom.com/sanom_info_diabetes.php และ http://www.healthytimesblog.com/2011/02/diabetes-your-food-plan/
· จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นเบาหวาน โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล, http://www.oknation.net/blog/print.php?id=336494
· เบาหวาน รักษาได้ดี ไม่ต้องตัดเท้า โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล, http://www.oknation.net/blog/DIVING/2008/10/27/entry-1
· เบาหวาน ไม่รักษาให้ถูกต้อง มีสิทธิ์ตาบอด โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล, http://www.oknation.net/blog/DIVING/2008/10/22/entry-2
· เบาหวาน หลักสำคัญในการรักษา โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล, http://www.oknation.net/blog/print.php?id=336728
· เบาหวาน กับ อินซูลิน โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล, http://www.oknation.net/blog/print.php?id=337594
· ความรุ้เรื่องโรคเบาหวาน, สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, อาคาร เฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี ชั้น 10 โซน A เลขที่ 2 ซอยเพชรบุรี 47 (ศูนย์วิจัย) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ,http://www.diabassocthai.org
· ตรวจความเสี่ยงโรคเบาหวาน,สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ,http://www.happydm.org/html/question.php?question_ID=1
· แนวทางเวชปฎิบัติเกี่ยวกับเบาหวาน พ.ศ. 2554, สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, http://www.diabassocthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id=12%3A-2551-&catid=2%3A2011-01-25-09-11-02&Itemid=6&lang=th
· โรคเบาหวานและทุกเรื่องที่เกี่ยวกับเบาหวาน, http://www.เบาหวาน.kudweb.com/
· ยารักษาโรคเบาหวาน 2, หมอชาวบ้าน เล่มที่: 382 , เดือน/ปี: 01/2554
· ยารักษาโรคเบาหวาน, หมอชาวบ้าน เล่มที่: 381, เดือน/ปี: 12/2553
· โรคเบาหวาน , หมอชาวบ้าน เล่มที่: 37 เดือน/ปี: 10/2553
· การดูแลผู้ป่วยเบาหวานถ้วนหน้า,หมอชาวบ้าน เล่มที่: 379 เดือน/ปี: 10/2553
· เบาหวานกับการออกกำลังกาย, หมอชาวบ้าน เล่มที่: 379 เดือน/ปี: 10/2553
· ภก.จินตวี ไชยชุน,ภก.ธีระ ฤทธิรอด,ภก.สุภาพร น้อยเมล์,ภกญ.ญาณิน ขมะณะรงค์, Sitagliptin ทางเลือกใหม่ในการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2, วารสารคลินิก เล่ม : 284 เดือน-ปี : 08/2551, http://doctor.or.th/node/7131
· โรคเบาหวาน, ห้องยา แผนกเภสัชกรรม รพ.รร.จปร, http://pharmacyjpr.igetweb.com/index.php?mo=3&art=431014
· American Diabetes Association. Pharmacologic intervention. In management of type 2 diabetes,4th edition.Verginia : Library of congress, 1998:56-72.
· Diabetes Drugs, Diabetes.co.uk, http://www.diabetes.co.uk/Diabetes-drugs.html
· Williams G, Pickup JC. Management of type 2 diabetes. In handbook of diabetes,2nd edition.Oxford: Blackwell Science Ltd, 1999:87-94.
· Schnell U, Mehnert H, Standl E. Oral antidiabetic agents: Sulfonylureas. In diabetes in the new millennium. Sydney: Pot still press,1999:195-202.
· Diabetes Drug Information, Remedy Health Media, LLC, http://www.healthcentral.com/diabetes/find-drug.html
· Kikuchi M. New antidiabetic drugs. In diabetes in the new millennium. Sydney: Pot still press,1999:239-50..
· Oral Diabetes Medications, webmd.com, http://diabetes.webmd.com/guide/oral-medicine-pills-treat-diabetes
· Linde B. The pharmacokinetics of insulin. In : Pickup J, Williams G,eds. Textbook of diabetes. Oxford: Blackwell Science Ltd,1991:371-83.
· European diabetes policy group. A desktop guide to type 1 ( insulin dependent ) diabetes mellitus. Diabet Med 1999;16:253-6.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น