วันอังคารที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2556

แบบทดสอบ : ปวดหัวอย่างไรนะ ที่เรียกว่าไมเกรน? โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล


"ปวดหัวบ่อยๆ หน้ามืดตาลาย จนทำงานไม่ได้เลย กินยาบ่อยครั้ง แต่เดี๋ยวก้อกลับมาปวดใหม่ อาการเช่นนี้เป็นปวดหัวไมเกรนหรือเปล่าคะ?" 

โรคไมเกรน ความจริงไม่น่าจะจัดว่าเป็นโรคแต่อย่างใด เพราะเป็นเพียงแค่ “สภาวะ” ที่หลอดเลือดแดงในสมองบีบตัวและคลายตัวมากกว่าปรกติ  

จริงๆนะครับ เราทุกคนมีโอกาสปวดหัวได้เสมอ อาการก้ออย่างที่เราเคยปวดมาน่านแหละ อาจมีสาเหตุมาจาก สภาวะร่างกายที่นอนไม่พอ มีความเครียด มีอาการไข้ควบคู่กับโรคหวัดหรือโรคอื่นๆ แต่ถ้าตอนนี้คุณมีอาการปวดหัวมากๆๆๆ ถี่ๆๆๆ อยากรุ้ว่าอันตรายไหม รักษาหายขาดได้หรือไม่ กินยาตัวใดจึงจะได้ผลและปลอดภัย

เภสัชกรจะมาตอบคำถามนี้ให้คุณหายปวดจากไมเกรน  ขอเริ่มด้วยตอนแรก 
แบบทดสอบ ที่ว่า ปวดหัวอย่างไรนะ ที่เรียกว่าไมเกรน?

ลองสำรวจร่างกาย อาการ สภาพแวดล้อมต่างๆเวลาที่คุณปวดหัว เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้น ที่เราต้องใช้ในการรักษาให้หายขาดในตอนต่อไป



ในฐานะเภสัชกรนั้น มากกว่าครึ่งของคนไข้ที่มาขอคำปรึกษาที่ร้านยา และได้รับคำแนะนำในการปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตไปแล้ว พบได้ว่าอาการปวดไมเกรน ลดน้อยลงได้ ดีกว่าต้องพึ่งพาแต่ยาอย่างเดียวเสียอีก ดังนั้นเข้าใจโรคไมเกรน เข้าใจตนเอง พร้อมปรับพฤติกรรม ให้เราเป็นหมอที่รักษาตนเองได้ เป็นทางเลือกที่ดีที่สุดครับ ในการรักษาไมเกรนใหหายขาด

มีคำถามเกี่ยวกับเรื่องโรคไมเกรน ไม่เข้าใจ อยากให้อาการดีขึ้น ปวดน้อยลง ไม่ปวดบ่อย ขอความกรุณาส่งคำถามมาที่ utaisuk@gmail.com เภสัชกรเปิดซองจดหมายอีเลคโทรนิคปุ้บ จะรีบตอบปั้บเอาใจคนไข้ไมเกรนทันทีครับ

แหล่งข้อมูล

•เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล สงวนลิขสิทธิ์ 9 มีค. 2556

ห้ามนำบทความ รูปภาพและเนื้อหาอื่นๆ โดยผู้เขียนไปเผยแพร่เชิงพาณิชย์ ให้นำไปเผยแพร่เป็นวิทยาทานหรือเพื่อการศึกษาเท่านั้น ผู้ประกอบการเว็บไซต์ต้องยึดหลักความเคารพและคำนึงถึงลิขสิทธิ์ในการสร้างสรรค์งานเขียนและจริยธรรมทางธุรกิจ

การนำเอาบทความ รูปภาพและเนื้อหาอื่นๆ ซึ่งผลิตขึ้นโดยผู้เขียนไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตและผลิตซ้ำเพื่อเผยแพร่ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาและ Copy url address ไปด้วยเพื่อให้ผู้อ่านสามารถลิ้งค์กลับมาอ่านบทความจากเว็บไซต์ของผู้เขียนได้โดยตรง

บทความนี้เขียนขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพ ไม่แนะนำให้คุณนำไปใช่วินิจฉัยหรือรักษาโรคด้วยตนเอง ขอความกรุณารับคำปรึกษาได้โดยตรงจากบุคลากรสหวิชาชีพทางสาธารณสุข รวมทั้งเภสัชกรใจดี ที่พร้อมดูแลสุขภาพพ่อแม่พี่น้องนะครับ

·         รูปประกอบจากอินเตอร์เนท

ไมเกรน: สาเหตุของปวดศีรษะไมเกรน?โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล,

ไมเกรน: โรคปวดศีรษะไมเกรนคืออะไร โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล,

ช่วยด้วย ปวดหัวไมเกรน ตามมารับประทาน โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล

ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดไมเกรน เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยง โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล

ยาแก้ปวดศีรษะไมเกรน Ergotamine หรือ Cafergot ใช้อย่างไรจึงจะปลอดภัย

ฟลูนาริซีน Flunarizine สำหรับป้องกันการเกิดไมเกรนและวิงเวียน โดย เภสัชกร อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล

Practice parameter: Evidence-based guidelines for migraine headache (an evidence-based review) Report of the Quality Standards Subcommittee of the American Academy of Neurology
Stephen D. Silberstein, MD, FACP and for the US Headache Consortium, http://www.neurology.org/content/55/6/754.long

The 2012 AHS/AAN Guidelines for Prevention of Episodic Migraine: A Summary and Comparison With Other Recent Clinical Practice Guidelineshead_2185 930..945 Elizabeth Loder, MD, MPH; Rebecca Burch, MD; Paul Rizzoli, MD,

Guidelines for the diagnosis and management of migraine in clinical practice
William E.M. Pryse-Phillips, MD; David W. Dodick, MD;
John G. Edmeads, MD; Marek J. Gawel, MD; Robert F. Nelson, MD; R. Allan Purdy, MD; Gordon Robinson, MD; Denise Stirling, MD; Irene Worthington, BScPhm, http://www.cmaj.ca/content/156/9/1273.full.pdf


ผศ.นพ.รังสรรค์  เสวิกุล, โรคไมเกรน,
ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล,

ผศ.นพ.รังสรรค์  เสวิกุล, โอ๊ย! ไมเกรน
,ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=499

ศ.นพ.นิพนธ์ พวงวรินทร์, เข้าใจไมเกรน,

ไมเกรน,  http://haamor.com/th/ไมเกรน

นิสิตเภสัชศาสตร์ นันท์ปกรณ์ ดีประดิษฐ์,  ไมเกรน, http://sirinpharmacy.wordpress.com/2011/05/16/ไมเกรน-migraine/

Shaygannejad V, Janghorbani M, Ghorbani A, et al. Comparison of the effect of topiramate and sodium valporate in migraine prevention: A randomized blinded crossover study. Headache 2006; 46: 642-648.

Handy Migraine Trigger Checklist [Infograph],

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น